หาเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายง่ายๆ
เชื่อว่าทุกคนคงอยากทราบว่าตนเองมีไขมันในร่างกายเท่าไร แต่หากจะต้องไปซื้อเครื่องแพงๆมาก็คงไม่คุ้มค่า ดังนั้นการหาเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายแบบง่ายๆ เราสามารถใช้เครื่องวัดไขมันใต้ผิวหนังแบบหนีบ (Skinfold Caliper) ซึ่งมีวิธีการวัดแต่ละแบบหลากหลาย อาจะวัด 3 หรือ 4 หรือ 7 จุดแล้วแต่วิธีเราเลือกใช้ แต่ไม่ว่าจะวิธีใดก็ตามเปอร์เซ็นต์ไขมันที่เหมาะสมนั้น เพศชายไม่ควรเกิน 25%และเพศหญิงไม่ควรเกิน 32%
บทความนี้จะมาเสนอแนะวิธีการวัดแบบ Durmin and Womersley โดยวิธีการก็ง่ายแสนง่ายเพียงวัดตำแหน่งไขมัน 4 จุด ได้แก่ ต้นแขนด้านหน้า(Biceps),ต้นแขนด้านหลัง(Triceps),ใต้สะบักหลัง(Subscapular),บริเวณหนือกระดูกอิลิแอค(Suprailiac)
เชื่อว่าทุกคนคงอยากทราบว่าตนเองมีไขมันในร่างกายเท่าไร แต่หากจะต้องไปซื้อเครื่องแพงๆมาก็คงไม่คุ้มค่า ดังนั้นการหาเปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกายแบบง่ายๆ เราสามารถใช้เครื่องวัดไขมันใต้ผิวหนังแบบหนีบ (Skinfold Caliper) ซึ่งมีวิธีการวัดแต่ละแบบหลากหลาย อาจะวัด 3 หรือ 4 หรือ 7 จุดแล้วแต่วิธีเราเลือกใช้ แต่ไม่ว่าจะวิธีใดก็ตามเปอร์เซ็นต์ไขมันที่เหมาะสมนั้น เพศชายไม่ควรเกิน 25%และเพศหญิงไม่ควรเกิน 32%
บทความนี้จะมาเสนอแนะวิธีการวัดแบบ Durmin and Womersley โดยวิธีการก็ง่ายแสนง่ายเพียงวัดตำแหน่งไขมัน 4 จุด ได้แก่ ต้นแขนด้านหน้า(Biceps),ต้นแขนด้านหลัง(Triceps),ใต้สะบักหลัง(Subscapular),บริเวณหนือกระดูกอิลิแอค(Suprailiac)
วิธีปฏิบัติ
1. การวัดไขมัน 4 จุด
1. การวัดไขมัน 4 จุด
-ต้นแขนด้านหน้า (Biceps) หยิบผิวหนังให้เป็นสันในแนวดิ่ง จุดกึ่งกลางด้านหน้าต้นแขน
- ต้นแขนด้านหลัง (Triceps) หยิบผิวหนังให้เป็นสันในแนวดิ่ง จุดกึ่งกลางหลังต้นแขน โดยปล่อยแขนเป็นอิสระข้างลำตัว ไม่เกร็ง หันฝ่ามือเข้าหาลำตัว
3. ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้มือหยิบผิวหนังให้กระชับขึ้นมาประมาณ 1 ซม. โดยไม่มีเนื้อเยื่อของกล้ามเนื้อติดการหยิบให้กางนิ้วหัวแม่มือและปลายนิ้วชี้ห่างกันประมาณ 8 ซม.เป็นแนวตั้งฉากกับเส้นผิวหนังที่จะหยิบ
4. วางปากคีบของCalipper ให้ตั้งฉากกับสันผิวหนังและห่างหรือต่ำลงมาจากปลายนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วชี้ที่หยิบ 1 ซม.และอยู่กึ่งกลางระหว่างสันผิวหนังและฐาน
5. อ่านค่าหลังจากปล่อยให้Caliper กดผิวหนังประมาณ 2 วินาที โดยจับผิวหนังให้เป็นสันตลอดการวัด
6. ทำการวัดค่าอย่างน้อยจุดละ 2 ครั้ง ถ้าค่าที่อ่านได้แตกต่างกันมากกว่า 1-2 มิลลิเมตร ให้วัดซ้ำครั้งที่ 3 โดยหมุนตำแหน่งไปตามลำดับมากกว่าวัดซ้ำ ณ จุดนั้นๆเลย หรือให้เวลากับผิวหนังในการกลับคืนสู่สภาพเดิม
7. นำค่าความหนาของผิวหนังทั้ง 4 จุด มารวมกันเข้าสมการ ดังนี้
Body fat % = 100 X (4.95/ (c - m X log of sum of 4 skinfolds) –4.5 )
- ต้นแขนด้านหลัง (Triceps) หยิบผิวหนังให้เป็นสันในแนวดิ่ง จุดกึ่งกลางหลังต้นแขน โดยปล่อยแขนเป็นอิสระข้างลำตัว ไม่เกร็ง หันฝ่ามือเข้าหาลำตัว
- ใต้สะบักหลัง (Subscapular) หยิบผิวหนังให้เป็นสันในแนวทำมุมกับกระดูกสันหลัง 45 องศาต่ำ กว่า inferior angle ของ scapular ประมาณ 1-2 ซม.
- บริเวณเหนือกระดูกอิลิแอค (Suprailiac) หยิบผิวหนังให้เป็นสันตามแนวรอยย่นผิวหนังเหนือ iliac crest บริเวณเส้น anterior auxiliary line
2. เพื่อความแม่นยำก่อนการวัดอาจใช้ดินสอหรือปากกาที่ลบได้ทำเครื่องหมายที่บริเวณแต่ละจุดไว้ก่อน3. ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้มือหยิบผิวหนังให้กระชับขึ้นมาประมาณ 1 ซม. โดยไม่มีเนื้อเยื่อของกล้ามเนื้อติดการหยิบให้กางนิ้วหัวแม่มือและปลายนิ้วชี้ห่างกันประมาณ 8 ซม.เป็นแนวตั้งฉากกับเส้นผิวหนังที่จะหยิบ
4. วางปากคีบของCalipper ให้ตั้งฉากกับสันผิวหนังและห่างหรือต่ำลงมาจากปลายนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วชี้ที่หยิบ 1 ซม.และอยู่กึ่งกลางระหว่างสันผิวหนังและฐาน
5. อ่านค่าหลังจากปล่อยให้Caliper กดผิวหนังประมาณ 2 วินาที โดยจับผิวหนังให้เป็นสันตลอดการวัด
6. ทำการวัดค่าอย่างน้อยจุดละ 2 ครั้ง ถ้าค่าที่อ่านได้แตกต่างกันมากกว่า 1-2 มิลลิเมตร ให้วัดซ้ำครั้งที่ 3 โดยหมุนตำแหน่งไปตามลำดับมากกว่าวัดซ้ำ ณ จุดนั้นๆเลย หรือให้เวลากับผิวหนังในการกลับคืนสู่สภาพเดิม
7. นำค่าความหนาของผิวหนังทั้ง 4 จุด มารวมกันเข้าสมการ ดังนี้
Body fat % = 100 X (4.95/ (c - m X log of sum of 4 skinfolds) –4.5 )
หรือไปคำนวณที่ Body Fat Percentage
ผู้เขียน: ศุภนิธิ ขำพรหมราช(อ.ป๊อป) อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และผู้ก่อตั้ง POP Fitness Studio
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น